กรณีศึกษาที่ปรากฏใน website ของกรมศุลกากร สามารถนำมาอ้างอิงกับธุรกรรม/สินค้าเดียวกันกับสินค้าในใบขนฯของผู้นำเข้า และขอใช้เพื่อตรวจปล่อยสินค้าได้หรือไม่

วันที่ : 28 กันยายน 2559 10:17:24
จำนวนผู้เข้าชม : 3,208

คำถาม :

กรณีศึกษาที่ปรากฏใน website ของกรมศุลกากร สามารถนำมาอ้างอิงกับธุรกรรม/สินค้าเดียวกันกับสินค้าในใบขนฯของผู้นำเข้า และขอใช้เพื่อตรวจปล่อยสินค้าได้หรือไม่

คำตอบ :

ไม่ได้ หากผู้นำเข้าใดพบว่าธุรกรรมของกรณีศึกษาใดสอดคล้องกับธุรกรรมของตนเอง และต้องการผลคำวินิจฉัยที่สามารถนำไปใช้เพื่อตรวจปล่อยสินค้าออกจากอารักขา จะต้องมายื่นคำร้องเพื่อขอคำวินิจฉัยราคาศุลกากรล่วงหน้า เอง


วันที่ปรับปรุงล่าสุด : 28 กันยายน 2559 10:19:58
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ : กองมาตรฐานพิธีการและราคาศุลกากร (กมพ.)
กรมศุลกากร เลขที่ 1 ถ.สุนทรโกษา คลองเตย กทม. 10110
อีเมล์ : 81000100@customs.go.th
- ส่วนราคาศุลกากร ที่ 1-3
หมายเลขโทรศัพท์ : 0-2667-6502, 0-2667-7179, 0-2667-7187
- ฝ่ายทะเบียนผู้นำเข้าและส่งออก
หมายเลขโทรศัพท์ : 0-2667-6488, 0-2667-7802, 0-2667-7983
- ฝ่ายทะเบียนตัวแทนออกของ
หมายเลขโทรศัพท์ : 0-2667-7000 ต่อ 20-4634, 20-4636

ipv6 ready acheker
ข้อมูลบนเว็บไซต์นี้ อยู่ภายใต้ประกาศเงื่อนไขการใช้ข้อมูล และลิขสิทธิ์ของกรมศุลกากร การใช้งานข้อมูลใด ๆ บนเว็บไซต์ ให้ใช้ได้ตามที่เว็บไซต์จัดรูปแบบไว้ให้เท่านั้น
ลิขสิทธิ์ 2015 กรมศุลกากร สงวนไว้ซึ่งสิทธิทั้งหมด @ออกแบบและพัฒนาโดยส่วนนวัตกรรมและวิเคราะห์ระบบ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมศุลกากร